วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 27 กันยายน 2554

อาจารย์สรุปความรู้ที่ได้เรียนในรายวิชาการจัดประสการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

-ความหมายของวิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-โครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์
-หลักการจัดประสบการณ์ทางวิยาศาสตร์
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจารย์ให้ส่งแผนการสอน และบอกข้อบกพร่องให้ปรับปรุง

วัตถุประสงค์
-บอกส่วนประกอบต่างๆ
-บอกลักษณะ

-ประสบการณ์สำคัญ
-ทักษะด้านการสังเกต
-ทักษะด้านการวัด
-ทักษะด้านการจำแนก
-ทักษะด้านการสื่อความหมาย

สาระสำคัญ
-ชื่อเรื่องที่จะสอน หน่วย

การจัดกิจกรรม
-ขั้นนำ
-ขั้นสอน
-ขั้นสรุป

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

การเขียนแผนวิทยาศาสตร์

สาระการเรียนรู้มาจาก
-สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
-เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
-บุคคลและสถานที่
-ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ
-ร่างกาย
-จิตใจ-อารมณณ์
-สังคม
-สติปัญญา
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์

ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการวัด
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปกกับเวลา
ทักษะการคำนวน

อาจารย์ได้เขียนตัวอย่างแผนให้ดูและได้สั่งงานให้จับกลุ่ม 5 คน เขียนแผนส่งกลุ่มละสัปดาห์

ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554

อาจารย์ให้ดูวิดิทัศน์ เรื่อง น้ำ

สิ่งที่ได้เรียนรู้

-น้ำเป็นสิ่งสำคัญต่อร่างกาย
-เราต้องดื่มน้ำวันละ8แก้วทดแทนการสูญเสียเหงื่อและพลังงานที่เสียไป
-น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย 70%
-ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90%
-อูฐสามารถไม่กินน้ำได้นานที่สุด10วัน
-ความแตกต่างระหว่าน้ำเปล่ากับน้ำเกลือ
-วัตถุที่มีขนาดเล็กไม่มีน้ำหนักมากสามาถลอยตัวบนผิวน้ำได้

ครั้งที่ 11 วันที่ 30 สิงหาคม 2554

แกนทิชชู่ - เป็นสิงที่อยู่รอบตัวเรา
- ผลิตจากธรรมชาติ
- เปลี่ยนแปลงได้

ผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต - สภาพแวดล้อม
- ต้นไม้
- ทรัพยากร

การแก้ปัญหา - อย่าใช้เยอะ
-ปรับเปลี่ยน
-ประยุกต์

การสอนแบบโครงการ

1.ขั้นนำ(หัวเรื่อง)
2.ขั้นดำเนินการ(หนูอยากรู้อะไร)
3.ขั้นสรุป(ทำอย่างไร)

ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม 2554

วัสดุเหลือใช้ เช่นอะะไรบ้าง
- ฝาขวดน้ำ
-ลัง
-แกนทิชชู่
-แก้วน้ำพลาสติก
-หลอก
-ปากกา
-กล่องนม
-กล่องยาสีฟัน
-กระป๋อง

อาจารย์สอน กิจกรรมแบบโครงการ

ขั้นตอนการลงมือกะทำ
-ปฏิบัติด้วยมือ
-ปฏิบัติด้วยตา
-ปฏิบัติด้วยหู
-ปฏิบัติด้วยลิ้น
-ปฏิบัติด้วยจมูก

การสร้างความคิดสร้างสรรค์
-คิดเร็ว
-คิดยืดหยุ่น
-คิดสร้างสรรค์
-คิดละเอียดละออ

หลักในการจัดกิจกรรม

ด้านวิธีการ
-มีความสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
-มีความหลากหลายและน่าสนใจ

ด้านเนื้อหา
-ต้องมีการสอดคล้องกับเนื้อหาการเรียนการสอน
-เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวไม่ยากจนเกินไป

ด้านลำดับขั้นตอน
-ขั้นนำ
-ขั้นสอน
-ขั้นสรุป

ครั้งที่ 9 วันที่ 19 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้ดูวิดิทัศน์ เรื่อง แสง

สิ่งที่ได้เรียนรู้จากเรื่องแสงในวันนี้

-ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่างจะทำให้เรามองไม่เห็นแสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งมีความ ยาว สั้น เคลื่อนที่ได้เร็วที่มองเห็นวัตถุรอบตัวได้ แสงต้องส่องมาโดนวัตถุแล้ววสะท้อนเข้าตัวเราแสงสำคัญมากเพราะถ้าไม่มีแสงเราก็จะมองไม่เห็น
-คุณสมบัติของแสง
-แสงเดินทางเป็นเส้นตรงไม่เปลี่ยนทิสทาง
-วัตถุในโลกมี ชนิด
-วัตถุโปร่งแสง
-วัตถุโปร่งใส
-วัตถุทึบแสง
-ประโยชน์ของแสง
-การเคลื่อนที่ของแสงนำมาทำกล้องฉายภาพ
-แสงเดินทางผ่านรูเล็กๆ
-แสงสะท้อนกับวัตถุทำให้แสงสะท้อนกลับไปทิศทางตรงข้ามเป็นมุมที่เท่ากัน

ครั้งที่ 8 วันที่ 7 สิงหาคม 2554

มีการสอบกลางภาค ไม่มีการเรียนการสอน

ครั้งที่ 7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้นำเสนอชิ้นงานที่ประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้

ตุ๊กตาล้มลุก
วัสดุอุปกรณ์
1.แกนกระดาษกาว
2.กระดาษสี
3.กาว
4.พลาสติกใส
5.เม็ดโฟม
6.ปากกาเคมี
7.ลูกแก้ว
ขั้นตอนการทำ
1.นำลูกแก้วทากาวแล้วติดตรงกลางในแกนกระดาษ
2.ตัดพลาสติกใสเป็นวงกลม สองวง
3.ใส่เม็ดโฟม
4.ทากาวแล้วติดทั้งสองด้าน
5.ตัดกระดาษสีเป็นครึ่งวงกลมแล้วติดส่วนบนทั้งสองด้าน
6.ทากาวแล้วติดทั้งสองด้าน
7.วาดรูปปาก ตา ตกแต่งให้สวยงาม

ครั้งที่ 6 วันที่ 26 กรกฎาคม 2554

เด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-วัยที่มีการพัฒนาากรสติปัญญาที่สุดของชีวิต
-แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษที่ส่งเสริมเด็กปฐมวัย สามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้

ความหมายทักษะการสังเกต
การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่งนั้นๆ

ความหมายและทักษะการวัด
หาปริมาณของสิ่งต่างๆโดยใช้เครืื่องมือวัดมีหน่วยกำกับ
1.รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
2.การเลือกเครื่องมือที่จะวัด
3.วิธีการที่จะวัด

ครั้งที่ 5 วันที่ 19 กรกฎาคม2554

กิจกรรมวิทยาศาสตร์

-ไข่ลอยฟ้า
-แรงดันน้ำ
-ไข่ลอยน้ำเกลือ
-ขวดเป่าลูกโป่ง
-การเดินทางของแสง
-การเดินทางของเสียง

ข้อความรู้
-ตัวอย่างสื่อวิทยาศาสตร์
-จิตวิทยาการเรียนรู้
-หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

อาจารย์ให้ทำโครงการ รณรงค์ ลด ละ เลิก เหล้า เบียร์ บุหรี่

เพลง รณรงค์ ลด ละ เลิก อบายมุข

มา มา มา พวกเรามาลดเลิกเหล้าเบียร์(ซ้ำ)
บุหรี่และสิ่งเสพติด (ซ้ำ)
เพื่อตัวเราและเพื่อในหลวง

ครั้งที่ 4 วันที่ 12 กรกฎาคม 2554

-อาจารย์ให้นำเนองานที่ไม่ผ่าน ใหม่
-อาจารย์สรุปงานที่นำเสนอทั้งหมด
-อาจารย์สั่งให้วาดภาพเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดลงไปรษณียบัตร

ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กรกฎาคม 2554

วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานกิจกรรมกลุ่ม
1.จิตวิทยาการเรียนรู้
2.แนวคิดนักการศึกษา
3.หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
4.กิจกรรมวิทยาศาสตร์
5.เล่นที่ประดิฐษ์ได้และให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
6.ตัวอย่างสื่อทางวิทยาศาสตร์

กลุ่มดิฉันได้หัวข้อ กิจกรรมวิทยาศาสตร์
โดยได้แบ่งกลุ่มเพื่อนๆออกเป็น 3 กลุ่ม
1.พิมพ์ภาพจากส่วนต่างๆของร่างกายและวัสดุธรรมชาติ
2.เป่าสี
3.พับสี
เมื่อนำเสนองานเสร็จแล้ว อาจารย์ก็ให้คำแนะนำในการนำเสนองานด้วยค่ะ

ครั้งที่ 2 วันที่ 28 มิถุนายน 2554

วิทยาศาสตร์

ความหมาย - เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- พิสูจน์ได้
- อยู่รอบตัวเรา
- มีคุณสมบัตรและลักษณะแตกต่างกันออกไป

ความสำคัญ - ในชีวิตประจำวัน เช่น เตารีด ไฟฟ้า พัดลม
- ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
- ใช้ในการสร้างอาชีพ
-ทำให้เรารู้เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า(พยากรณ์)
-ทำให้เกิดการพัฒนา

วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 1 วันที่ 21 มิถุนายน 2554

อาจารย์พูดถึงการทำบล็อก และวิธีการสร้างบล็อก

การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

* การจัด หมายถึง การออกแบบ วางแผน

*ประสบการณ์ หมายถึง ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การรับรู้ การเรียนรู้

*วิทยาศาสตร์ หมายถึง เนื้อหา ทักษะ
-การตั้งสมมติฐาน
- การสังเกตุ
- การทดลอง
-การบันทึก
- การสรุป
*เด็กปฐมวัย หมายถึง -เด็กอายุแรกเกิด- 6 ปี
-อยากรู้อยากเห็น
-ยึดตัวเองเป็นสำคัญ
- ชอบความแปลกใหม่